วันเสาร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

The Quran on Seas and Rivers

The Quran on Seas and Rivers:


Modern Science has discovered that in the places where two different seas meet, there is a barrier between them.  This barrier divides the two seas so that each sea has its own temperature, salinity, and density.1  For example, Mediterranean sea water is warm, saline, and less dense, compared to Atlantic ocean water.  When Mediterranean sea water enters the Atlantic over the Gibraltar sill, it moves several hundred kilometers into the Atlantic at a depth of about 1000 meters with its own warm, saline, and less dense characteristics.  The Mediterranean water stabilizes at this depth2 (see figure 13).
Figure 13 (Click here to enlarge)
Figure 13: The Mediterranean sea water as it enters the Atlantic over the Gibraltar sill with its own warm, saline, and less dense characteristics, because of the barrier that distinguishes between them.  Temperatures are in degrees Celsius (C°). (Marine Geology, Kuenen, p. 43, with a slight enhancement.)  (Click on the image to enlarge it.)
Although there are large waves, strong currents, and tides in these seas, they do not mix or transgress this barrier.
The Holy Quran mentioned that there is a barrier between two seas that meet and that they do not transgress.  God has said:
" He has set free the two seas meeting together.  There is a barrier between them.  They do not transgress. " (Quran, 55:19-20)
But when the Quran speaks about the divider between fresh and salt water, it mentions the existence of “a forbidding partition” with the barrier.  God has said in the Quran:
" He is the one who has set free the two kinds of water, one sweet and palatable, and the other salty and bitter.  And He has made between them a barrier and a forbidding partition. " (Quran, 25:53)
One may ask, why did the Quran mention the partition when speaking about the divider between fresh and salt water, but did not mention it when speaking about the divider between the two seas?
Modern science has discovered that in estuaries, where fresh (sweet) and salt water meet, the situation is somewhat different from what is found in places where two seas meet.  It has been discovered that what distinguishes fresh water from salt water in estuaries is a “pycnocline zone with a marked density discontinuity separating the two layers.”3  This partition (zone of separation) has a different salinity from the fresh water and from the salt water4 (see figure 14).
Figure 14 (Click here to enlarge)
Figure 14: Longitudinal section showing salinity (parts per thousand ‰) in an estuary.  We can see here the partition (zone of separation) between the fresh and the salt water. (Introductory Oceanography, Thurman, p. 301, with a slight enhancement.)  (Click on the image to enlarge it.)
This information has been discovered only recently, using advanced equipment to measure temperature, salinity, density, oxygen dissolubility, etc.  The human eye cannot see the difference between the two seas that meet, rather the two seas appear to us as one homogeneous sea.  Likewise, the human eye cannot see the division of water in estuaries into the three kinds: fresh water, salt water, and the partition (zone of separation).
_____________________________
Footnotes:
(1) Principles of Oceanography, Davis, pp. 92-93. Back from footnote (1)
(2) Principles of Oceanography, Davis, p. 93. Back from footnote (2)
(3) Oceanography, Gross, p. 242.  Also see Introductory Oceanography, Thurman, pp. 300-301. Back from footnote (3)
(4) Oceanography, Gross, p. 244, and Introductory Oceanography, Thurman, pp. 300-301. Back from footnote (4)

 พระคัมภีร์กุรอานว่าด้วยทะเลและแม่น้ำ

วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ได้ค้นพบว่า ในสถานที่ซึ่งทะเลสองสายมาบรรจบกัน จะเกิดสิ่งขวางกั้นทะเลทั้งสองไว้ โดยที่สิ่งขวางกั้นดังกล่าวนี้จะแบ่งทะเลทั้งสองออกจากกัน เพื่อที่ว่าทะเลแต่ละสายจะได้มีอุณหภูมิ ความเข้มและความหนาแน่นเป็นของตนเอง.1 ตัวอย่างเช่น น้ำในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจะอุ่น เค็ม และมีความหนาแน่นน้อยเมื่อเทียบกับน้ำในมหาสมุทรแอตแลนติก เมื่อน้ำในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนหนุนเข้าไปในมหาสมุทรแอตแลนติค โดยผ่านทางสันดอนยิบรอลตาร์ (Gibraltar) มันจะไหลไปเป็นระยะทางหลายร้อยกิโลเมตรหนุนเข้าไปในมหาสมุทรแอตแลนติกที่ความลึกประมาณ 1000 เมตร โดยพาความอุ่น ความเค็ม และความหนาแน่นที่น้อยกว่าของมันเองไปด้วย น้ำในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจะคงที่อยู่ที่ความลึกดังกล่าวนี้2(ดูรูปที่ 13).
 

รูปที่ 13 (คลิกที่รูปภาพเพื่อขยายใหญ่)
รูปที่ 13:น้ำจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนขณะที่หนุนเข้าไปในมหาสมุทรแอตแลนติกโดยผ่านทางสันดอนยิบรอลตาร์ ซึ่งจะพาความอุ่น ความเค็มและความหนาแน่นที่น้อยกว่าเข้าไปด้วยเนื่องมาจากแนวสันดอนที่กั้นอยู่แบ่งแยกความแตกต่างระหว่างทะเลทั้งสอง อุณหภูมิจะนับเป็นองศาเซลเซียส (C’)  (Marine Geology ของ Kuenen หน้า 43 ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติมเล็กน้อย) (คลิกที่รูปภาพเพื่อขยายใหญ่)
แม้ว่าจะมีคลื่นลูกใหญ่ กระแสน้ำที่เชี่ยวกราก และระดับน้ำขึ้นลงสูงเพียงใดในทะเลดังกล่าว ทะเลทั้งสองก็จะไม่มีโอกาสที่จะรวมกันหรือรุกล้ำสิ่งขวางกั้นนี้ไปได้ .
พระคัมภีร์กุรอานได้กล่าวไว้ว่า มีสิ่งขวางกั้นระหว่างทะเลทั้งสองที่มาบรรจบกัน และทะเลทั้งสองจะไม่สามารถรุกล้ำผ่านไปได้ พระผู้เป็นเจ้าทรงตรัสว่า:
"พระองค์ทรงทำให้น่านน้ำทั้งสองไหลมาบรรจบกันระหว่างมันทั้งสองมีที่กั้นกีดขวาง มันจะไม่ล้ำเขตต่อกัน. " (พระคัมภีร์กุรอาน, 55:19-20)
แต่เมื่อพระคัมภีร์กุรอานกล่าวถึงเรื่องราวระหว่างน้ำจืดกับน้ำเค็ม พระคัมภีร์มักจะกล่าวว่าจะมี “เขตหวงห้าม” โดยมีสิ่งขวางกั้นไม่ให้น้ำทั้งสองรวมกันได้ พระผู้เป็นเจ้าทรงตรัสไว้ในพระคัมภีร์กุรอานดังน:
และพระองค์คือผู้ทรงทำให้ทะเลทั้งสองบรรจบติดกัน อันนี้จืดสนิทและอันนี้เค็มจัดและทรงทำที่คั่นระหว่างมันทั้งสอง และที่กั้นขวางอันแน่นหนา. " (พระคัมภีร์กุรอาน, 25:53)
อาจมีใครบางคนถามว่า ทำไมพระคัมภีร์กุรอานจึงกล่าวถึงการแบ่งเขต เมื่อพูดถึงเรื่องสิ่งที่แบ่งแยกระหว่างน้ำจืดกับน้ำเค็ม แต่ไม่กล่าวถึงการแบ่งเขตดังกล่าวเมื่อพูดถึงสิ่งที่แบ่งแยกระหว่างทะเลสองสาย?
วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ได้ค้นพบว่าในบริเวณปากแม่น้ำ ที่ซึ่งน้ำจืดและน้ำเค็มมาบรรจบกันนั้น สถานภาพจะค่อนข้างแตกต่างจากสิ่งที่ได้พบในสถานที่ซึ่งทะเลสองสายมาบรรจบกัน โดยพบว่าสิ่งที่แยกน้ำจืดออกจากน้ำเค็มในบริเวณปากแม่น้ำนั้นคือ “เขตที่น้ำเปลี่ยนแปลงความหนาแน่น โดยที่ความหนาแน่นที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนจะเป็นสิ่งที่แยกน้ำสองสายนี้ออกเป็นสองชั้น.”3 การแบ่งเขตดังกล่าวนี้ (เขตการแบ่งแยก) จะมีความแตกต่างในเรื่องของความเค็มระหว่างน้ำจืดและน้ำเค็ม4 (ดูรูปที่ 14).
รูปท 14 (คลิกที่รูปภาพเพื่อขยายใหญ่)
รูปท 14:ส่วนที่เป็นเส้นตั้งตรง แสดงให้เห็นถึงความเค็ม (ส่วน ต่อ หนึ่งพันเปอร์เซ็นต์) ในบริเวณปากแม่น้ำ เราจะเห็นการแบ่งเขต (เขตการแบ่งแยก) ที่กั้นระหว่างน้ำจืดกับน้ำเค็ม (Introductory Oceanography  ของ Thurman หน้า 301 ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติมเล็กน้อย) (คลิกที่รูปภาพเพื่อขยายใหญ่)
ข้อมูลดังกล่าวได้ถูกค้นพบเมื่อไม่นานมานี้ โดยการใช้เครื่องมือที่ทันสมัยในการวัดอุณหภูมิ ความเค็ม ความหนาแน่น ออกซิเจนที่ไม่ละลายน้ำ และอื่นๆ  ด้วยสายตาของมนุษย์จะไม่สามารถมองเห็นความแตกต่างระหว่างการมาบรรจบกันของทะเลทั้งสองสายได้ ซึ่งทะเลทั้งสองที่ปรากฏต่อหน้าเรานั้นดูเหมือนเป็นทะเลพื้นเดียวกัน เช่นเดียวกันที่สายตาของมนุษย์ไม่สามารถมองเห็นการแยกกันของน้ำในบริเวณปากแม่น้ำที่ผสมผสานกันของน้ำ 3 ชนิด ได้แก่ น้ำจืด น้ำเค็ม และการแบ่งเขต (เขตการแบ่งแยก).
 

_____________________________
เชิงอรรถ:
(1)Principles of Oceanography  ของ Davis หน้า 92-93. Back from footnote (1)
(2)Principles of Oceanography  ของ Davis  หน้า 93. Back from footnote (2)
(3)Oceanography ของ Gross  หน้า 242 และดูที่ Introductory Oceanography  ของ Thurman หน้า 300-301. Back from footnote (3)
(4)Oceanography  ของ Gross หน้า 244 และ Introductory Oceanography  ของ Thurman   หน้า 300-301. Back from footnote (4)


วันศุกร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

A QUR’ANIC MIRACLE IN 3 LETTERS

A QUR’ANIC MIRACLE IN 3 LETTERS

 
Among the real mysteries of the Holy Qur’an are those seemingly random letters found at
the forefront of about one quarter of the chapters of the Qur’an …
Among the real mysteries of the Holy Qur’an are those seemingly random letters found at the forefront of about one quarter of the chapters of the Qur’an. That being said, has the age arrived where we finally discover at least some of the secrets behind these ‘special’ letters? Can the language of numbers reveal some of their marvels?
 
Although scholars have never been able to fully explain the meaning behind these letters, most have appropriately given their opinion on the matter by saying, “God knows best!”.
Indeed, they did not discourage reflecting upon these letters and researching them. And as such, we have undertaken a detailed study into the arrangement and repetition of these mystifying letters, only to discover that underlying them is a most profound miracle of numbers.
In this part is an abundance of numeric illustrations depicting the relationship of these letters with the number 7, which is the basis of the these letters’ numeric system and the foundation of the numeric miracle in general. This part is also a response to any claims that the Holy Qur’an contains meaningless letters, because the numeric system behind the special letters is clear evidence of their inimitability, in today’s age of numbers and information.
--------------------
By: Abduldaem Al-Kaheel

References:
1- The Holy Qur’an.
2- The Encyclopaedia of the Numeric Miracles in the Holy Qu’ran. By: Abduldaem Al-Kaheel.
Ref  link :  http://www.kaheel7.com/eng/index.php/numeric-miracle/416-a-quranic-miracle-in-3-letters

บล็อคนี้...มีอะไร?

In the name of Allah ....

  


 บล็อคนี้รวบรวมบทความเกี่ยวกับอิสลามและอื่น ๆ สามารถติดตามเพิ่มเติมได้ทาง 
www.facebook.com/HassanAero